Friday, November 18, 2011

แบบทดสอบวิชาการบริหารการจัดซื้อ

แบบประเมินผลการเรียนรู้หน่วยที่ 1
จงเลือกคำตอบที่ถูกต้องที่สุดเพียงข้อเดียว
1. กระบวนการดำเนินงานที่จะได้วัสดุ สินค้าและบริการที่จำเป็นในการผลิต ปริมาณคุณภาพและในเวลาที่ต้องการคือข้อใด
ก. การจัดหา ข. การจัดซื้อ
ค. การวางแผนการผลิต ง. การบริหารการจัดการ
2. การพิจารณาเทคนิคที่สามารถนำไปใช้งานได้ โดยพิจารณาจากความเหมาะสมเป็นหลักในการจัดซื้อข้อใด
ก. คุณสมบัติที่ถูกต้อง ข. จำนวนที่ถูกต้อง
ค. ราคาที่ถูกต้อง ง. ถูกทุกข้อ
3. การพิจารณาความประหยัดที่ช่วยให้ต้นทุนลดลงสามารถนำไปใช้งานได้ เป็นหลักการจัดซื้อข้อใด
ก. คุณสมบัติที่ถูกต้อง ข. จำนวนที่ถูกต้อง
ค. ราคาที่ถูกต้อง ง. ถูกทุกข้อ
4. การพิจารณาความสามารถในการขนส่งวัสดุเข้าโรงงานหรือคลังสินค้า ประหยัดเวลาและค่าใช้จ่าย การคุ้มครองป้องกัน และการรักษาสภาพสินค้าด้านใด
ก. ราคาที่ถูกต้อง ข. จำนวนทีถูกต้อง
ค. แหล่งผู้ขายที่ถูกต้อง ง. คุณสมบัติที่ถูกต้อง
5. ข้อใดเป็นลักษณะของการจัดซื้อ
ก. การจัดซื้อเพื่อขายต่อ ข. การขัดซื้อเพื่อแปรสภาพ
ค. การจัดซื้อเพื่อการบริโภค ง. ถูกทุกข้อ
6. การจัดซื้อวัตถุดิบ สินค้า หรือการบริการต่างๆ เพื่อการเก็งกำไร โดยส่วนมากจะผ่านพ่อค้าคนกลางเป็นการซื้อในลักษณะใด
ก. Purchasing for conversion
ข. Purchasing forresale
ค. Purchasing forconsumption
ง. Purchasing formanufactor
7. การจัดซื้อแรกเริ่ม หมายถึงข้อใด
ก. Purchasing for conversion
ข. Purchasing forresale
ค. Purchasing forconsumption
ง. Purchasing formanufactor
8. ลักษณะของการจัดซื้อเพื่อนำไปใช้ในการผลิต จัดทำโดยตัวแทนจัดซื้อ คือข้อใด
ก. การจัดซื้อเพื่อการขายต่อ ข. การจัดซิ้อเพื่อแปรสภาพ
ค. การจัดซื้อเพื่อการบริโภคโดยตรง ง. ถูกทุกข้อ
9. ลักษณะการจัดซิ้อที่ไม่เป็นไปตามหลักและทฤษฎีการจัดซื้อ คือข้อใด
ก. การจัดซื้อเพื่อการขายต่อ ข. การจัดซิ้อเพื่อแปรสภาพ
ค. การจัดซื้อเพื่อการบริโภคโดยตรง ง. ถูกทุกข้อ
10. ลักษณะการจัดซิ้อที่เป็นแบบแผนและจัดเป็นระบบสมบูรณ์มากกว่าการจัดซื้อประเภทอื่น คือข้อใด
ก. การจัดซื้อเพื่อการขายต่อ ข. การจัดซิ้อเพื่อแปรสภาพ
ค. การจัดซื้อเพื่อการบริโภคโดยตรง ง. ถูกทุกข้อ
11. การจัดซื้อขึ้นอยู่กับอารมณ์และความพอใจของผู้ซื้อ เป็นลักษณะของการจัดซื้อแบบใด
ก. การจัดซื้อเพื่อการขายต่อ ข. การจัดซิ้อเพื่อแปรสภาพ
ค. การจัดซื้อเพื่อการบริโภคโดยตรง ง. การจัดซื้อเพื่อการอุตสาหกรรม
12. การเช่า การซ่อม การผลิตเอง การเปลี่ยนการโอน การจัดระบบลำเลียงนำส่งการรับและตรวจรับของที่นำส่ง การคุ้มครองสภาพของสินค้าในคลัง เป็นลักษณะของข้อใด
ก. การจัดซื้อ ข. การจัดหา
ค. การจัดจำหน่าย ง. การจัดหาแหล่งขาย
13. โครงสร้างหลัก 3 งานของการจัดซื้อที่สำคัญของธุรกิจได้แก่ งานด้านใดบ้าง
ก. การผลิต การขาย และการเงิน ข. การจัดการ การผลิต และการขาย
ค. การจัดการ กานขาย และการเงิน ง. การผลิต การจัดการ และการเงิน
14. การจัดซื้อที่ปฏิบัติกันโดยทั่วไปในปัจจุบัน ได้แก่
ก. การวิเคราะห์ใช้ ข. ประเมินราคา คุณภาพ การส่งมอบ
ค. ตรวจสอบวัสดุ ง. ถูกทุกข้อ
15. การตรวจสอบสินค้า จะกระทำเป็นประจำตามเวลาที่กำหนด เพื่อวัตุประสงค์ตามข้อใด
ก. ตรวจสอบประสิทธิภาพของการจัดซื้อ
ข. ตรวจสอบปริมาณสินค้า/วัตถุดิบคงเหลือ
ค. ประเมินราคา คุณภาพ และการส่งมอบ
ง. ถูกทุกข้อ
16. วัตถุประสงค์ของการจัดซื้อเป็นเป็นการกำหนดเป้าหมายให้เป็นผู้ปฏิบัติหน้าที่จัดซื้อต้องทำให้สำเร็จตามที่กำหนดไว้ได้แก่ข้อใด
ก. เป็นการควบคุมให้การลงทุนต่ำสุด
ข. รวบรวมข่างสารต่อการตัดสินใจ
ค. ควบคุมต้นทุนรวมของกิจการ
ง. ถูกทุกข้อ
17. หน้าที่การจัดซื้อ คือการจัดหาวัตถุดิบ วัสดุอุปกรณ์ เครื่องใช้ เครื่องจักร เพื่อสนองความต้องการของกิจการ ถือเป็นหน้าที่ในลักษณะใดของงาน
ก. งานขั้นพื้นฐานของระบบการผลิต
ข. งานหลักงานหนึ่งของธุรกิจ
ค. งานที่ช่วยสร้างกำไรให้กิจหาร
ง. งานในการจัดหาของใช้ทั้งหมดขององค์การธุรกิจ
18. การติดต่อเจรจาประสานงานกับบรรดาตัวแทนขายขององค์การอื่นๆ สิ่งที่ต้องคำนึงถึงมากที่สุดคือ
ก. การสร้างกำไรให้กิจการ
ข. งานหลักหนึ่งของธุรกิจ
ค. งานในการจัดหาของใช้ทั้งหมดของกิจการ
ง. การสร้างภาพพจน์ที่ดีให้กิจการ
19. การสรรหาและคัดเลือกแหล่งขาย การเจรจาต่อรอง การจัดทำตารางปฏิบัติ การสืบราคา การทำสัญญา เป็นส่วนหนึ่งของขอบเขตงานจัดซื้อด้านใด
ก. ความต้องการการใช้ของกิจการ
ข. การจัดสินใจในการจัดหา
ค. การกำหนดขั้นตอนในการปฏิบัติงาน
ง. การบริหารพัสดุ
20. ข้อใดต่อไปนี้เป็นหน้าที่งานหลักของการจัดซื้อ
ก. การกำหนดมาตรฐานของพัสดุ ข. จัดทำงบประมาณวัสดุ
ค. งานด้านการบริหารวัสดุ ง. ถูกทุกข้อ
แบบประเมินผลการเรียนรู้หน่วยที่ 2
จงเลือกคำตอบที่ถูกต้องที่สุดเพียงข้อเดียว
1.ข้อใดต่อไปนี้เป็นหลักในการกำหนดวิธีปฏิบัติในการจัดซื้อโดยทั่วไปแล้ว
ก. ปฏิบัติงานที่กำหนดให้ได้ผลสำเร็จเร็วที่สุด
ข. ทำเป็นระบบเพื่อให้ง่ายต่อการปฏิบัติ
ค. ปรับตัวยืดหยุ่นได้ตามสถานการณ์ได้
ง. ถูกทุกข้อ
2. ข้อใดต่อไปนี้เป็นขั้นตอนการปฏิบัติงานการจัดซื้อ
ก. คัดเลือกแหล่งขาย
ข. พิจารณาราคาและเงื่อนไขที่ผู้ขายเสนอ
ค. การสั่งซื้อ
ง. ถูกทุกข้อ
3. การขจัดปํญหาที่อาจจะเกิดขึ้นจากการจัดซื้อฉุกเฉินหรือในจำนวนไม่มาก ทำให้เกิดความยุ่งยากและสิ้นเปลืองได้ ควรปฏิบัติตามขั้นตอนใดของการจัดซื้อต่อไปนี้
ก. กำหนดความต้องการและรายละเอียดของคุณสมบัติ
ข. กำหนดขั้นตอนเกี่ยวกับเอกสารการจัดซื้อ
ค. คัดเลือกแหล่งขาย
ง. พิจารณาราคาและเงื่อนไขที่ผู้ขายเสนอ
4. งานที่ต้องดำเนินหลังจากการอนุมัติให้สั่งซื้อของฝ่ายจัดซื้อ คืองานใด
ก. คัดเลือกแหล่งขาย ข. พิจารณาราคาและเงื่อนไขที่ผู้ขายเสนอ
ค. กำหนดรายละเอียดและคุณสมบัติ ง. การสั่งซื้อ
5. การพิจารณาราคาและเงื่อนไขที่ผู้ขายเสนอสามารถทำได้โดย
ก. การเจรจาต่อรอง ข. สืบราคาจากแค็ตตาล็อก
ค. ศึกษาจากข้อมูลเดิม ง. ข้อ ก และ ข ถูกต้อง
6. เอกสารในการจัดซื้อจะมีจำนวนชนิดมากหรือน้อยขึ้นอยู่กับข้อใด
ก. ระบบการจัดซื้อ ข. ขนาดของกิจการ
ค. ระบบบัญชีและวิธีการคบคุม ง. ถูกทุกข้อ
7. ข้อใดเป็นลักษณะของเอกสารการจัดซื้อที่ดี
ก. เป็นเอกสารที่มีข้อมูลชัดเจนและเข้าใจง่าย
ข. ผิดพลาดน้อยที่สุด
ค. มีรูปแบบเหมาะสม ประหยัด และมีประสิทธิภาพ
ง. ถูกทุกข้อ
8. เอกสารที่ฝ่ายจัดซื้อทำขึ้นและส่งไปยังฝ่ายอื่นๆในกิจการเพื่อแสดงความต้องการจัดซื้อสินค้าหรือพัสดุได้แก่เอกสารตามข้อใด
ก. The Request - for - Quotation ข. Purchase Order
ค. Purchaserequisition ง. PurchaseRecord
9. เอกสารที่มีรายละเอียดและคุณลักษณะเฉพาะของสินค้าหรือวัสดุที่ต้องการ รวมทั้งปริมาณและเงื่อนไขการขนส่งได้แก่เอกสารตามข้อใด
ก. ใบขอซื้อ ข. ใบบันทึกการซื้อ
ค. ใบสอบถามราคา ง. ใบตรวจรับ
10. เอกสารที่ฝ่ายจัดซื้อทำขึ้นและส่งไปให้ผู้ขายเพื่อยืนยันการสั่งซื้อเป็นลายลักษณ์อักษรและมีผลเป็นสัญญาในการซื้อขายทางกฏหมายได้แก่ข้อใด
ก. ใบสั่งซื้อ (Purchase Order)
ข. ใบสอบราคา (The Request - for - Quotation)
ค. ใบขอซื้อ (Purchaserequisition)
ง. ใบบันทึกการซื้อ (PurchaseRecord)
11. เอกสารที่ฝ่ายจัดซื้อใช้เป็นการสรุปผลการดำเนินงานเสนอผู้บริหาร ได้แก่ข้อใดบ้าง
ก. บันทึกการขาย ข. บันทึกการซื้อ
ค. บันทึกเกี่ยวกับเครื่องมือและเครื่อง ง. การให้รหัสสินค้าที่ซื้อมา
12. เอกสารที่ช่วยอำนวยความสะดวกในการทำงานของฝ่ายจัดซื้อในการเขียนใบสั่งซื้อ และออกใบสั่งซื้อคือ เอกสารตามข้อใด
ก. บันทึกการขาย ข. บันทึกการซื้อ
ค. บันทึกเกี่ยวกับเครื่องมือและเครื่อง ง. การให้รหัสสินค้าที่ซื้อมา
13. วิธีการจัดซื้อในปัจจุบันที่นิยมปฏิบัติได้แก่วิธีการจัดซื้อตามข้อใด
ก. วิธีของธุรกิจเอกชนและราชการ
ข. วิธีของทางเอกชนอย่างเดียว
ค. วิธีของทางราชการอย่างเดียว
ง. ผิดทุกข้อ
14. การจัดซื้อของธุรกิจเอกชนได้แก่การจัดซื้อตามข้อใด
ก. ใบแจ้งราคา ข. การต่อรองราคา
ค. การประมูลราคา ง. ถูกทุกข้อ
15. วิธีที่ผู้ชื้อเป็นฝ่ายกำหนดเงื่อนไข จำนวน มาตรฐาน และคุณภาพ ให้กับผู้ขายหลายๆราย เรียกว่าวิธีการซื้อตามข้อใด
ก. การสอบราคา ข. การประกวดราคา
ค. การประมูลราคา ง. การต่อรองราคา
16. การซื้อหรือการข้างครั้งหนึ่งไม่เกิน 50,000 บาท ในการณีจำเป็นและเร่งด่วนและเกิดขึ้นโดยไม่ได้คาดหมายไง้ล่วงหน้าคือวิธีการตามข้อใด
ก. วิธีประกวดราคา ข. วิธีพิเศษ
ค. วิธีตกลงราคา ง. วิธีกรณีพิเศษ
16. การซื้อหรือการจ้างครั้งหนึ่ง ซึ่งมีราคาเกิน 100,000 บาท แต่ไม่เกิน 2,000,000 บาท คือการซื้อตามข้อใดต่อไปนี้
ก. วิธีตกลงราคา ข.วิธีประกวดราคา
ค. วิธีการสอบราคา ง. วิธีกรณีพิเศษ
17. การซื้อหรือการจ้างครั้งหนึ่ง ซึ่งมีราคาเกิน 2,000,000 บาท เป็นการซื้อตามวิธีใด
ก. วิธีตกลงราคา ข.วิธีประกวดราคา
ค. วิธีการสอบราคา ง. วิธีกรณีพิเศษ
18. การซื้อหรือการจ้างครั้งหนึ่ง ซึ่งมีราคาเกิน 2,000,000 บาท เป็นการซื้อตามวิธีใด
ก. วิธีตกลงราคา ข.วิธีประกวดราคา
ค. วิธีการสอบราคา ง. วิธีกรณีพิเศษ
19. การซื้อครั้งหนึ่ง ซึ่งมีราคาเกิน 100,000 บาท ให้ได้กระทำเฉพาะเช่น การซื้อพัสดุเพื่อใช้ในราชการลับ
ก. วิธีพิเศษ ข. วิธีประกวดราคา
ค. วิธีการราคา ง. วิธีกรณีพิเศษ
20. การจัดซื้อยาและเวชภัณฑ์ ควรใช้การจัดซื้อประเภทใดต่อไปนี้
ก. วิธีพิเศษ ข. วิธีประกวดราคา
ค. วิธีการราคา ง. วิธีกรณีพิเศษ
แบบประเมินผลการเรียนรู้หน่วยที่ 3
จงเลือกคำตอบที่ถูกต้องที่สุดเพียงข้อเดียว
1. การพิจารณาในการสั่งซื้อว่าเป็นจำนวนเท่าใด จึงจะทำให้ราคาในการสั่งซื้อนั้นประหยัดที่สุดขึ้นอยู่กับสิ่งใด
ก. ราคาหรือต้นทุนในการสั่งซื้อ ข. จำนวนสั่งซื้อที่ประหยัด
ค. จำนวนครั้งที่ต้องออกใบสั่งซื้อ ง. ค่าใช้จ่ายที่เกิดจากการสต๊อกสินค้าหรือพัสดุ
2. การกำหนดปริมาณการจัดซื้อ โดยคำนึงถึงจุดสูงสุด (Maximum Point) และจุดต่ำสุดที่จะได้รับ (Minimum Point) คือข้อใด
ก. ราคาหรือต้นทุนในการสั่งซื้อ ข. จำนวนสั่งซื้อที่ประหยัด
ค. จำนวนครั้งที่ต้องออกใบสั่งซื้อ ง. ค่าใช้จ่ายที่เกิดจากการสต๊อกสินค้าหรือพัสดุ
3. ระยะเวลาในการตงลงราคาสั่งซื้อสินค้าหรือพัสดุอาจเสียเวลานานและเสียค่าใช้จ่ายสูงนั้นขึ้นอยู่กับสิ่งใด
ก. ค่าใช้จ่ายในการเจรจาเพื่อการจัดซื้อ ข. ราคาหรือต้นทุนในการสั่งซื้อ
ค. จำนวนครั้งที่ต้องออกใบสั่งซื้อ ง. ค่าใช้จ่ายที่เกิดจากการสต๊อกสินค้าหรือพัสดุ
4. การจัดซื้อที่ไม่จำเป็นต้องมีขั้นตอนในการจัดซื้อที่ยุ่งยากได้แก่ข้อใด
ก. การซื้อตกลงราคา ข. การซื้อโดยประกวดราคา
ค. การซื้อย่อย ง. วิธีโดยสอบราคา
5. การซื้อโดนผู้ซื้อจะเป็นผู้กำหนดเงื่อนไขต่างๆ เป็นการซื้อในลักษณะข้อใด
ก. การซื้อตกลงราคา ข. การซื้อโดยประกวดราคา
ค. การซื้อย่อย ง. วิธีสอบราคา
6. การซื้อโดยกำหนด Spec ว่าต้องการพัสดุอะไร มีคุณสมบัติอย่างไร ต้องการเท่าใด เมื่อใดจะให้นำส่งอย่างไร ประมาณราคาเป็นเท่าใด เป็นลักษณะการซื้อประเภทใด
ก. การซื้อตกลงราคา ข. การซื้อโดยประกวดราคา
ค. การซื้อย่อย ง. วิธีสอบราคา
7. การจัดซื้อที่ทั้งสองฝ่ายตกลงก่อนจะทำสัญญา เพื่อให้เกิดความพอใจทั้ง 2 ฝ่าย เป็นการซื้อตามข้อใด
ก. การซื้อตกลงราคา ข. การซื้อโดยประกวดราคา
ค. การซื้อย่อย ง. วิธีสอบราคา
8. ข้อใดเป็นความจำเป็นที่ใช้ในการเจรจาต่อรอง
ก. การเปลี่ยนแปลงทางเทคนิค
ข. ธุรกิจที่มีลักษณะผูกขาดหรือกึ่งผูกขาด
ค. เมื่อมีการจัดซื้ออุปกรณ์ที่มีราคาสูง
ง. ถูกทุกข้อ
9. เครื่องใช้ไฟฟ้า เครื่องมือ สารเคมี เป็นสินค้าที่มักจะจำหน่ายในตลาดลักษณะใด
ก. ตลาดอุปทานและราคาคงที่ในระยะสั้น
ข. ตลาดอุปทานและราคาขึ้นลงไม่แน่นอน
ค. ตลาดที่อุปทานและราคาคงที่ในระยะยาว
ง. ตลาดที่อุปทานและราคาขึ้นลงแน่นอน
10. ยางพารา ดีบุก ฝ้าย น้ำมันพืช หนังสัตว์ เป็นสินค้าที่มักจะจำหน่ายในตลาดลักษณะใด
ก. ตลาดอุปทานและราคาคงที่ในระยะสั้น
ข. ตลาดอุปทานและราคาขึ้นลงไม่แน่นอน
ค. ตลาดที่อุปทานและราคาคงที่ในระยะยาว
ง. ตลาดที่อุปทานและราคาขึ้นลงแน่นอน
แบบประเมินผลการเรียนรู้หน่วยที่ 4
จงเลือกคำตอบที่ถูกต้องที่สุดเพียงข้อเดียว
1.คุณสมบัติของแหล่งผู้ขายที่ดีได้แก่ข้อใด
ก. ซื่อสัตย์ สุจริต และยุติธรรม ในการติดต่อลูกค้า และตนเอง
ข. มีความสามารถในการจัดเตรียมเพื่อจัดส่งให้ผู้ซื้อได้ถูกต้อง
ค. กำหนดราคาอย่างยุติธรรม ทั้งสำหรับผู้ซื้อและผู้ขาย
ง. ถูกทุกข้อ
2. การรวบรวมข้อมูลจากประสบการณ์และความจำเป็นเอกสารบันทึกรายละเอียดของผู้ขายเรียกว่าอะไร
ก. แฟ้มผู้ขาย (Vendor file)
ข. แค็ตตาล็อก (Catalogs)
ค. รายนามผู้ประกอบการค้า (Trade Directory)
ง. วารสารการค้า (Trade Journals)
3. เอกสารจัดพิมพ์โดยผู้ขาย ซึ่งมีรายการและคำอธิบายรายการสินค้าที่แหล่งขายมีไว้ขาย
ก. แฟ้มผู้ขาย (Vendor file)
ข. แค็ตตาล็อก (Catalogs)
ค. รายนามผู้ประกอบการค้า (Trade Directory)
ง. วารสารการค้า (Trade Journals)
4. เอกสารฉบับนี้จะมีรายละเอียดต่างๆเกี่ยวกับผู้ขาย เช่น สถานที่ตั้ง ลักษณะการค้า ผลิตภัณฑ์ ตรายี่ห้อ ซึ่ง ฝ่ายจัดซื้อจะมีไว้ประจำเพื่อการค้นหา คือข้อใด
ก. Vendor file ข. Catalogs
ค. Trade Directory ง. Trade Journals
5. เป็นแหล่งข้อมูลที่ตีพิมพ์ข้อมูลต่างๆที่น่าสนใจของวงการธุรกิจ ได้แก่เอกสารตามข้อใด
ก. Vendor file ข. Catalogs
ค. Trade Directory ง. Trade Journals
6. แหล่งข้อมูลที่เป็นที่รู้จักกันเป็นอย่างดี มีการจำแนกประเภทของผู้ใช้โทรศัพท์ตามประเภทของธุรกิจ คือข้อใด
ก. Yellow Page ข. Vendor file
ค. Catalogs ง. Trade Journals
7. การสร้างความสนใจให้กับผู้ซื้อ และผู้ที่สนใจ สามารถหาขอมูลได้จากแหล่งใด
ก. นิทรรศการทางการค้าและการแสดงสินค้า
ข. แค็ตตาล็อก
ค. แฟ้มผู้ขาย
ง. วารสารการค้า
8. ในการหาข้อมูลข่าวสาร ฝ่ายจัดหารซื้อโดยการขอให้ผู้ชายขายจัดส่งเป็นเอกสารให้บอกราคาและเงื่อนไขต่างๆวิธีนี้ใช้กับการจัดซื้อชิ้นส่วนหรือบริการที่สำคัญ คือข้อใด
ก. การขอใบเสนอราคา ข. แค็ตตาล็อก
ค. แฟ้มผู้ขาย ง. วารสารการค้า
9. การพิจารณาถึงคุณลักษณะเฉพาะของผลิตภัณฑ์หรือแบบของพัสดุหรือสินค้าที่แหล่งผู้ขายเป็นผู้เสนอ คือข้อใด
ก. คุณสมบัติของพัสดุ ข. ปริมาณของพัสดุ
ค. การบริการของแหล่งขาย ง. ฐานะทางด้านการเงิน
10. การพิจารณาจากขนาดของแหล่งผู้ขายที่เสนอมา ถ้ามีขนาดเล็กการเสนอขายก็จะมีจำนวนน้อย คือข้อใด
ก. คุณสมบัติของพัสดุ ข. ปริมาณของพัสดุ
ค. การบริการของแหล่งขาย ง. ฐานะทางด้านการเงิน
11. ฝ่ายจัดซื้อควรศึกษาถึงบริเวณต่างๆที่แหล่งขายเสนอให้ เช่นบริการด้านการขนส่ง คือข้อใด
ก. คุณสมบัติของพัสดุ ข. ปริมาณของพัสดุ
ค. การบริการของแหล่งขาย ง. ฐานะทางด้านการเงิน
12. การพิจารณาฐานะการเงินของแหล่งผู้ขาย ว่ามีความมั่นคงหรือไม่ ได้แก่ข้อใด
ก. คุณสมบัติของพัสดุ ข. ปริมาณของพัสดุ
ค. การบริการของแหล่งขาย ง. ฐานะทางด้านการเงิน
13. การตัดสินใจเลือกแหล่งขายจากการปฏิบัติพิจารณาได้จาก
ก. คุณสมบัติเฉพาะ
ข. การปฏิบัติของแหล่งผู้ขาย
ค. การตัดสินใจเลือกแหล่งขายจากการบริการ
ง. ข้อ ก และ ข ถูกต้อง
14. วิธีการประเมินที่มอบหมายให้บุคลากรฝ่ายต่างๆทำการประเมินผลการปฏิบัติงานของแหล่งขายที่มีต่อกิจการ ผลที่รวบรวมได้จะนำมาบันทึกเป็นคะแนนสูงหรือต่ำไว้ เพื่อใช้ในการประกอบในการตัดสินใจคือข้อใด
ก. การประเมินแบบจำแนกประเภท
ข. การประเมินแบบคะแนนถ่วงน้ำหนัก
ค. การประเมินแบบอัตราส่วนต้นทุน
ง. ถูกทุกข้อ
15. ปัญหาที่เกี่ยวกับการเลือกแหล่งขายคือข้อใด
ก. ปัญหาจากการเลือกแหล่งขายจากหลายแหล่งหรือแหล่งเดียว
ข. ปัญหาการซื้อสินค้าจากคนกลาง หรือโรงงานผลิต
ค. ปัญหาหารซื้อสินค้าจากแหล่งในท้องถื่นหรือแหล่งอื่น
ง. ถูกทุกข้อ
แบบประเมินผลการเรียนรู้หน่วยที่ 5
จงเลือกคำตอบที่ถูกต้องที่สุดเพียงข้อเดียว
1. งานที่ต้องใช้จิตวิทยาในการโน้มน้าวจูงใจให้ฝ่ายตรงข้ามมีความคิดเห็นคล้อยตามแนวความคิดของเราคือ ข้อใดต่อไปนี้
ก. การเตรียมตัวก่อนเข้าพบ ข. การเจรจาต่อรอง
ค. การหาข้อมูล ง. การพูดจาหว่านล้อม
2. ข้อใดเป็นลักษณะของการเจรจาต่อรองในการจัดซื้อ
ก. ราคา ข. การจ่ายเงิน
ค. การปรับปรุงคุณภาพ ง. ถูกทุกข้อ
3. ข้อใดเป็นลักษณะของการเจรจาต่อรองในการจัดซื้อ
ก. ได้ราคาที่บุติธรรมกับคุณภาพ ข. ทำให้ผู้ขายทำให้ทันตามสัญญา
ค. ควบคุมลักษณะที่มีการปฏิบัติตามสัญญา ง. ถูกทุกข้อ
4. ข้อใดถือเป็นการกำหนดเงื่อนไขการเจรจาต่อรองชัดเจน
ก. ตรวจดูความคิดเห็นเกี่ยวกับผลที่จะได้รับ
ข. ผสมผสานวัตุประสงค์กับฝ่ายตรงข้าม
ค. วางแผนสำรองการปรับเปลี่ยน
ง. วางแผนในการเสนอประเด็นต่างๆ
5. ข้อใดถือเป็นการกำหนดวัตุประสงค์ในการเจรจาต่อรอง
ก. วางแผนในการเสนอประเด็นต่างๆ
ข. วางแผนสำรองการปรับเปลี่ยน
ค. วิเคราะห์ประเด็นต่างๆ
ง. แบ่งประเด็นตามความเหมาะสมกับวัตถุประสงค์
6. การเตรียมความพร้อม (Ready) เป็นการเตรียมความพร้อมในด้านใด
ก. ความต้องการของผู้เจรจาต่อรองข. ความต้องการของทุกฝ่ายที่เกี่ยวข้อง
ค. ความต้องการศึกษาข้อมูล ง. ความต้องการของข้อได้เปรียบ
7. ข้อใดเป็นกลยุทธ์ในการเจรจาต่อรอง
ก. Explore ข. Probe
ค. Ready ง. ถูกทุกข้อ
8. นักเจรจาต่อรองต้องรับฟังข้อเสนอของคู่เจรจาเพื่อใช้เป็นข้อมูลในการกำหนดทางเลือกคือข้อใด
ก. Explore ข. Probe
ค. Ready ง. ถูกทุกข้อ
9. ถ้าท่านต้องการตั้งคำถามเพื่อนำไปสู่ประเด็นที่ตกลงกันไว้ ควรตั้งคำถามใดต่อไปนี้
ก. ตำถามการครอบคลุม ข. คำถามตรงตัว
ค. คำถามชี้นำ ง. คำถามค้นหาความจริง
10. ข้อใดเป็นสิ่งที่ควรหลีกเลี่ยงในระหว่างการเจรจาต่อรอง
ก. สถานที่ที่ไม่เหมาะสม ข. การโต้แย้งที่ไร้เหตุผล
ค. การพูดเกินกว่าเท็จจริง ง. ถูกทุกข้อ
11. การสื่อความหมายตามพจนานุกรม เป็นสื่อความหมายในการเจรจาต่อรองเรื่องใด ข้อใด
ก. การใช้คำพูดในการสื่อ ข. การใช้ภาษากายในการสื่อ
ค. การใช้เทคโนโลยีสื่อ ง. การใช้สื่อเทคนิคอื่นเข้าช่วย
12. สัญญาแบบนี้จะมีระบุเงื่อนไขด้านราคาชัดเจน เป็นสัญญาที่ผู้ขายยอมเป็นผู้รับผิดชอบโดยตรงคือข้อใด
ก. Fixed Price Contract
ข. Firm Fixed Price
ค. Fixed Price with Escalation
ง. Cost-type Contracts
13. สัญญาซื้อขายกรรมสิทธ์ที่เจาะจงซื้อทรัพย์สิ่งที่ตนมีอยู่แล้วแน่นอน ไม่มีเงื่อนไขหรือเงื่อนเวลา และมีการตกลงราคากันไว้ คือข้อใด
ก. สัญญาซื้อขาย ข. สัญญาจะซื้อจะขาย
ค. สัญญาซื้อขายแบบมีเงื่อนไข ง. สัญญาซื้อขายแบบมีเงื่อนเวลา
14. สัญญาที่มีการโอนกรรมสิทธ์ในทรัพย์สินจากผู้ขายไปยังผู้ซื้อในเวลาข้างหน้า คือข้อใด
ก. สัญญาซื้อขาย ข. สัญญาจะซื้อจะขาย
ค. สัญญาซื้อขายแบบมีเงื่อนไข ง. สัญญาซื้อขายแบบมีเงื่อนเวลา
15. สัญญาที่มีข้อตกลงว่า สัญญาซื้อขายจะเกิดขึ้นหรือไม่อยู่กับเหตุการณ์ในอนาคตจะเป็นไปตามข้อตกลง คือข้อใด
ก. สัญญาซื้อขาย ข. สัญญาจะซื้อจะขาย
ค. สัญญาซื้อขายแบบมีเงื่อนไข ง. สัญญาซื้อขายแบบมีเงื่อนเวลา

แบบประเมินผลการเรียนรู้หน่วยที่ 6
จงเลือกคำตอบที่ถูกต้องที่สุดเพียงข้อเดียว
1. กระบวนการที่ทำให้เกิดมูลค่าเพิ่ม (Value Added) หมายถึงข้อใด
ก. การซื้อ ข. การผลิต
ค. การขาย ง. คุณภาพ
2. การกำหนดคุณสมบัติของวัตถุดิบอยู่ในรูปคุณสมบัติเฉพาะ (specification) แสดงโดยช่วงของค่าที่ยอมรับได้ หมายถึงข้อใด
ก. มาตรฐานปัจจัยการผลิต ข. กระบวนการผลิต
ค. กระบวนการซื้อ ง. การควบคุมคุณภาพ
3. ข้อใดต่อไปนี้เป็นปัจจัยการผลิต
ก. วัตถุดิบ ข. พนักงาน
ค. เครื่องจักร อุปกรณ์ ง. ถูกทุกข้อ
4. ข้อใดถือว่าเป็นการกำหนดวิธีการทำงานให้เป็นมาตรฐาน
ก. คำนวณต้นทุนในการผลิต ข. ควบคุมมาตรฐานการผลิต
ค. จัดทำคู่มือปฏิบัติงาน ง. ควบคุมมาตรฐานสภาพแวดล้อม
5. การตัดสินใจผลิตเองหรือซื้อ (Make or Buy Decision) เนื่องมาจากปัจจัยตามข้อใด
ก. ได้รับเทคโนโลยีใหม่ ข. การเพิ่มสินค้า
ค. การสั่งซื้อพิเศษ ง. การควบคุมสินค้า
6. ข้อใดถือว่าเป็น การตัดสินใจเพิ่มหรือยกเลิกแผนกงาน (Add or Delete a Segment Decision)
ก. การปิด/เปิดสาขา
ข. ประเมิณผลแผนกงานใช้วิธีการกำไรส่วนเกิน
ค. การควบคุมคุณภาพ
ง. การสั่งซื้อพิเศษ
7. ข้อใดถือเป็นปัจจัยที่ควรพิจารณาประกอบในการตัดสินใจผลิตสินค้าเอง
ก. การควบคุมคุณภาพ ข. ต้องการชิ้นส่วนระยะสั้น
ค. ความน่าเชื่อถือของผู้ขาย ง. มาตรฐานชิ้นส่วน
8. การพิจารณาความเหมาะสม ในบางกิจการจะมีมาตรฐานเฉพาะของชิ้นส่วนประกอบเป็นการกล่าวถึงเรื่องใด
ก. ปัจจัยในการซื้อสินค้า ข. ปัจจัยในการผลิตสินค้า
ค. ปัจจัยในการควบคุมคุณภาพ ง. ปัจจัยในความปลอดภัย
9. การซื้อเครื่องคอมพิวเตอร์จัดเป็นการซื้อในระดับใดของผู้บริโภค
ก. การซื้อยุ่งยาก (complex buying behavior)
ข. การซื้อที่เป็นปกตินิสัย (habit buying behavior)
ค. การซื้อแบบเลือกมาก (variety - seeing buying behavior)
ง. การซื้อแบบยุ่งยากน้อยกว่า (dissonance - reducing buying behavior)
10. การซื้อพรม จัดเป็นการซื้อในระดับใดของผู้บริโภค
ก. การซื้อยุ่งยาก (complex buying behavior)
ข. การซื้อที่เป็นปกตินิสัย (habit buying behavior)
ค. การซื้อแบบเลือกมาก (variety - seeing buying behavior)
ง. การซื้อแบบยุ่งยากน้อยกว่า (dissonance - reducing buying behavior)

แบบประเมินผลการเรียนรู้หน่วยที่ 7
จงเลือกคำตอบที่ถูกต้องที่สุดเพียงข้อเดียว
1. การสั่งซิ้อวัตถุดิบหรือสินค้าต้องใช้เวลารอคอย (lead time) เป็นลักษณะของสินค้าประเภทใด
ก. สินค้าตามสภาพการผลิต ข. สินค้าตามความต้องการเปลี่ยนแปลง
ค. สินค้าเพื่อขายในคราวต่อไป ง. สินค้าเป็นลอต
2. สินค้าที่เตรียมไว้ล่วงหน้าเพื่อการขายในฤดูต่อไปหรือการส่งเสริมการขายสินค้าประเภทใด
ก. สินค้าตามสภาพการผลิต ข. สินค้าตามความต้องการเปลี่ยนแปลง
ค. สินค้าเพื่อขายในคราวต่อไป ง. สินค้าเป็นลอต
3. สินค้าที่ผลิตหรือสั่งซื้อครั้งละมากๆเพื่อลดจำนวนครั้งในการสั่ง เป็นสินค้าประเภทใด
ก. สินค้าตามสภาพการผล ข. สินค้าตามความต้องการเปลี่ยนแปลง
ค. สินค้าเพื่อขายในคราวต่อไป ง. สินค้าเป็นลอต
4. สินค้าที่อยู่ระหว่างการขนส่งจากแห่งหนึ่งไปยังอีกแห่งหนึ่งอาจใช้เวลาไม่แน่นอนคือข้อใด
ก. สินค้าตามสภาพการผลิต ข. สินค้าตามความต้องการเปลี่ยนแปลง
ค. สินค้าเพื่อขายในคราวต่อไป ง. สินค้าเป็นลอต
5. สิ่งของหรือรายการต่างๆที่ต้องซื้อมาเพื่อทำการผลิตเป็นสินค้าสำเร็จรูปหรือชิ้นส่วนได้แก่ข้อใด
ก. raw materials ข. finished goods
ข. supplies ง. work - in - process
6. กระดาษทราย ถือเป็นสินค้าคงเหลือประเภทใด
ก. วัตถุดิบ ข. วัสดุสิ้นเปลือง
ข. ชิ้นส่วน ง. สินค้าสำเร็จรูป
7. กระบวนการจัดการในการจัดหาวัตถุดิบหรือบริการให้แก่องค์การโดยมีขอบเขตงาน เรียกว่า
ก. การจัดหา ข. การจัดซื้อ
ค. การกระจายสินค้า ง. การผลิต
8. ผู้บริหารด้านจัดซื้อต้องตัดสินใจในเรื่องใดต่อไปนี้
ก. ราคา (Price) ข. คุณภาพ (Quality)
ค. ติดต่อ (Contact) ง. วิเคราะห์ลูกค้า
9. ข้อใดไม่ใช่กระบวนการจัดหาวัตถุดิบ
ก. การรับรู้ความต้องการ (Recognized Need)
ข. การเลือกผู้ขายวัตถุดิบ (Select Suppliers)
ค. การสั่งซื้อ (Place the order)
ง. การผลิต (Production)
10. ผู้ขายมีอิทธิพลเหนือผู้ซื้อต่อเมื่อ
ก. ผู้ซื้อเป็นผู้ซื้อรายย่อยที่มีส่วนแบ่งในการซื้อน้อย
ข. ผู้ซื้อมีข้อจำกัดในการทำบูรณาการย้อนหลัง
ค. ต้นทุนในการเปลี่ยนผู้ขายวัตถุดิบสูง
ง. ผู้ซื้อเป็นผู้ซื้อรายใหญ่ที่มีสัดส่วนในการสูง

แบบประเมินผลการเรียนรู้หน่วยที่ 8
จงเลือกคำตอบที่ถูกต้องที่สุดเพียงข้อเดียว
1. ข้อใดถือเป็นประโยชน์ที่เกิดจากการพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์
ก. การส่งเสริมการผลิต
ข. ช่วยการเพิ่มศักยภาพในทางการค้า
ค. ช่วยให้สะดวก ช่วยให้รวดเร็ว และประหยัดเวลา
ง. ถูกทุกข้อ
2. หน่วยงานใดถือว่าเป็นหน่วยงานนำร่องในการนำพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์มาใช่ในประเทศไทย
ก. กระทรวงพาณิชย์ ข. กรทรวงอุตสาหกรรม
ค. กรมส่งเสริมการส่งออก ง. กรมส่งเสริมอุตสาหกรรม
3. หลักพื้นฐานที่สำคัญสำหรับพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ได้แก่ข้อใด
ก. ระบบสารสนเทศทางพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ (Electronic System)
ข. ความสัมพันธ์กับลูกค้าทางพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ (Electronic relationship)
ค. ธุรกรรมทางพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ (Electronictransaction)
ง. ถูกทุกข้อ
4. ปัจจัยความสำเร็จที่สำคัญในการทำพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ได้แก่ข้อใด
ก. โครงสร้างพื้นฐาน ข. การรักษาความปลอดภัย
ค. ด้านการเงิน ง. ถูกทุกข้อ
5. เทคโนโลยีในการทำธุรกิจพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ ต้องอาศัยสิ่งใดเป็นปัจจัยสำคัญที่สุด
ก. การสร้างเว็บ ข. อินเทอร์เน็ต
ค. ระบบอีคอมเมิร์ธ ง. อีเมล
6. ลักษณะการดำเนินธุรกิจจะเป็นกลุ่มองค์กรทางธุรกิจกับหน่วยงานภาครัฐหมายถึงข้อใด
ก.. B to G ข. B – to – B or B2B
ค. B – to – C or B2C ง. C – to – C or C2C
7. ลักษณะของการค้าส่งหรือการค้าในลักษณะของตัวแทนจำหน่าย หรือเป็นการค้าขนาดใหญ่ระหว่างองค์กรธุรกิจด้วยกัน ได้แก่ข้อใด
ก. Business to Government ( B to G)
ข. Business to Business (B – to – B or B2B)
ค. Business toConsumer (B – to – C or B2C)
ง. Consumer toConsumer(C – to – C or C2C)
8. ลักษณะของการขายปลีก เป็นการจำหน่ายสินค้าจากผู้ขายหรือผู้ผลิตไปยังลูกค้าปลีก หรือเป็นการค้าปลีกไปยังผู้บริโภคทั่วโลกหรือภายในท้องถิ่นของตน หมายถึงข้อใด
ก. Business to Government ( B to G)
ข. Business to Business (B – to – B or B2B)
ค. Business toConsumer (B – to – C or B2C)
ง. Consumer toConsumer(C – to – C or C2C)
9. เป็นการค้าปลีกระหว่างผู้บริโภค บุคคลทั่วไปหรือระหว่างผู้ใช้อินเตอร์เน็ตด้วยกันได้แก่ข้อใด
ก. Business to Government ( B to G)
ข. Business to Business (B – to – B or B2B)
ค. Business toConsumer (B – to – C or B2C)
ง. Consumer toConsumer(C – to – C or C2C)
10. ข้อใดเป็นวัตถุประสงค์ในการจดทะเบียนเป็นผู้ประกอบการพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์
ก. จัดทำระเบียบบุคคลที่ทำการค้าพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์
ข. ทราบสถิติข้อมูลและหลักฐานของผู้ที่ทำการค้าพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์
ค. สร้างความมั่นใจในการทำธุรกรรมพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ให้กับผู้บริโภค
ง. ถูกทุกข้อ
11. การประชาสัมพันธ์ให้กับผู้ประกอบการสามารถทำได้โดย
ก. สร้าความน่าเชื่อถือให้กับผู้ประกอบการด้านพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์
ข. เป็นศูนย์กลางด้านข้อมูลพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ให้แก่ผู้ประกอบการและผู้บริโภค
ค. จัดทำระเบียนบุคคลที่ทำการค้าพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์
ง. สร้างความสัมพันธ์กับลูกค้า
12. เว็บไซต์ที่ต้องจดทะเบียนได้แก่ข้อใด
ก. เว็บไซต์ที่มีการส่งมอบสินค้าหรือบริการผ่านทางเครือข่ายอินเตอร์เน็ต
ข. เว็บไซต์ที่มีการโฆษณาสินค้าของตนเอง โดยไม่ใช้ช่องทางค้าปกติ
ค. เว็บไซต์เสนอข่าวประจำวัน จะมีป้ายโฆษณา (banner) ด้วยหรือไม่
ง. เว็บไซต์ส่วนตัว (ส่วนบุคคล) ที่สร้างขึ้นเพื่อเผยแพร่ข้อมูลส่วนตัว
13. เว็บไซต์ที่ไม่ต้องจดทะเบียนได้แก่
ก. thairath.com ข. bangkokpost.com
ค. innews.co.th ง. ถูกทุกข้อ
14. ร้านค้าใดต่อไปนี้ที่ไม่ต้องจดทะเบียน
ก. อินเตอร์เน็ตคาเฟ่ ข. ร้านจำหน่ายสินค้าทางอินเตอร์เน็ต
ค. ร้านขายเครื่องคอมพิวเตอร์ ง. ร้านค้าที่มีระบบตระกร้า
15. E-marketplace เป็นประโยชน์ที่ได้รับจากการจดทะเบียนด้านใด
ก. สร้างความมั่นใจในการทำธุรกรรมพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์
ข. สร้าความน่าเชื่อถือให้กับผู้ประกอบการด้านพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์
ค. เป็นศูนย์กลางด้านข้อมูลพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์
ง. ได้รับการส่งเสริมและพัฒนาจากการพัฒนาธุรกิจการค้า
16. ระบบสารสนเทศที่สนับสนุนการตกลงราคา การสอบราคา การประกวดราคา และการจัดซื้อรวมแบบออนไลน์ ได้แก่ข้อใด
ก. e – procurement ข. e – auction
ค. e – marketplace service provider
ง. e – market
17. การจัดหารพัสดุที่เกิดจากการรวมความต้องการจักซื้อพัสดุในปริมาณมาก (Demand Aggregation) ทำให้การสั่งซื้อมีมูลค่าสูงจนสามารถจัดการประมูลได้ ได้แก่ข้อใด
ก. e – procurement ข. e – auction
ค. e – market place service provider
ง. e – market
18. ผู้บริการตลาดกลางอิเล็กทรอนิกส์ที่ทำหน้าที่เป็นผู้จัดการประมูล และเป็นสื่อกลางระหว่างผู้ซื้อกับผู้ขาย โดยมีศูนย์กลางการติดต่ออยู่ที่เว็บไซต์ของตลาดกลางคือข้อใด
ก. e – procurement ข. e – auction
ค. e – market place service provider
ง. e – market
19. วัสดุครุภัณฑ์ที่ควรนำมาพิจารณาในการทำ e – auction จะเป็นวัสดุครุภัณฑ์ที่มีลักษณะเดียวกันได้แก่
ก. วัสดุสำนักงาน ข. การผลิตสินค้า
ค. การให้บริการ ง. การจำหน่ายสินค้า
20. e – catalog จัดอยู่ในประเภท
ก. e – procurement ข. e – auction
ค. e – market place service provider
ง. e – market
21. วงเงินในการจัดหาพัสดุ ที่จะดำเนินการจัดประมูลด้วยระบบอิเล็กทรอนิกส์ในแต่ละครั้ง ต้องมีจำนวนวงเงินตามข้อใดต่อไปนี้
ก. วงเงินรวมกันไม่ต่ำกว่า 10,000 บาท
ข. วงเงินรวมกันไม่ต่ำกว่า 100,000 บาท
ค. วงเงินรวมกันไม่ต่ำกว่า 1,000,000 บาท
ง. วงเงินรวมกันไม่ต่ำกว่า 50,000 บาท

แบบประเมินผลการเรียนรู้หน่วยที่ 9
จงเลือกคำตอบที่ถูกต้องที่สุดเพียงข้อเดียว
1.การจัดซื้อรวมแบบออนไลน์ เป็นลักษณะการจัดซื้อตามข้อใด
ก. e – procurement ข.e – catalog
ค. e – marketing ง.e – commerce
2. มาตรฐานที่รวบรวมรายละเอียดของสินค้าและบริการที่อำนวยความสะดวกให้กับผู้ค้า/ผู้รับจ้าง (Supplies) คือลักษณะข้อใด
ก. e – procurement ข. e – catalog
ค. e – marketing ง. e – commerce
3. ระบบที่อำนวยความสะดวก ในขั้นตอนการจัดซื้อจัดจ้างทางอิเล็กทรอนิกส์ โดยวิธีสอบราคาหรือวิธีตกลงราคา คือข้อใดจ่อไปนี้
ก. ระบบ e – RFP ข. ระบบ e – procurement
ค. e – marketing ง. e – commerce
4. ระบบการเชื่อมโยงข้อมูล ที่เกี่ยวข้องกับผู้ค้า ได้แก่ระบบใด
ก. ระบบ e – RFP ข. ระบบ e – procurement
ค. e – marketing ง. e – commerce
5. ผู้ให้บริการตลาดกลางอิเล็กทรอนิกส์โดยทำหน้าที่จัดการประมูลและเป็นสื่อกลางระหว่างผู้ซื้อกับผู้ค้าคือข้อใดต่อไปนี้
ก. ระบบ e – RFP ข. ระบบ e – procurement
ค. e – marketing ง. e – commerce
6. ข้อใดเป็ความมุ่งหมายของการจัดซื้อจัดจ้างระบบอิเล็กทรอนิกส์
ก. ป้องกันการทุจริตในระบบการจัดซื้อจัดจ้าง
ข. พัฒนาระบบการจัดซื้อจัดจ้างของภาครัฐ
ค. เพิ่มประสิทธิภาพ ในกระบวนการจัดซื้อจัดจ้าง
ง. ถูกทุกข้อ
7. ระบบการจัดซื้อจัดจ้างสินค้าหรือบริการที่มีมูลค่าสูง และมีกระบวนการดำเนินการที่ซับซ้อนจะเข้าข่ายการจัดซื้อจัดจ้างโดยอาศัยวิธีการประกวดราคาได้แก่ข้อใด
ก. ระบบ e - procurement
ข. ระบบ e – tendering system
ค. ระบบ e – purchasing system
ง. ระบบ e – shopping
8. ข้อใดคือประโยชน์ของการพัฒนาระบบ e – procurement
ก. เปิดเผยข้อมูลแก่สาธารณะ
ข. กระจายข้อมูลไปยังผู้ที่เกี่ยวข้องฝ่ายต่างๆได้
ค. ประกวดราคาผ่านทางอิเล็กทรอนิกส์
ง. ถูกทุกข้อ
9. หนังสือเชิญชวนให้เป็นผู้บริการตลาดกลางอิเล็กทรอนิกส์ เป็นเอกสารประเภทใด
ก. เอกสารการประมูลแบบอิเล็กทรอนิกส์
ข. เอกสารหลังการประมูล
ค. เอกสารที่ใช้ระหว่างการติดต่อสื่อสาร
ง. เอกสารเผยแพร่ เพื่อประชาสัมพันธ์
10. หนังสือยืนยันการเสนอราคาสุดท้ายของผู้ค้าที่เข้าร่วมประมุล เป็นเอกสารประเภทใดในการประมูลด้วยระบบอิเล็กทรอนิกส์
ก. เอกสารก่อนการประมูลแบบอิเล็กทรอนิกส์
ข. เอกสารหลังการประมูล
ค. เอกสารที่ใช้ระหว่างการติดต่อสื่อสาร
ง. เอกสารเผยแพร่ เพื่อประชาสัมพันธ์

แบบประเมินผลการเรียนรู้หน่วยที่ 10
จงเลือกคำตอบที่ถูกต้องที่สุดเพียงข้อเดียว
1. ฝ่ายจัดซื้อจะต้องรับผิดชอบงานข่างสารทั่วไปเกี่ยวกับเรื่องใด
ก. บักทึกการซื้อ ข. ศึกษาตลาด
ค. สอบสวนแหล่งพัสดุ (สินค้า) ง. ศึกษาพัสดุ (สินค้า)
2. ฝ่ายจัดซื้อจะต้องรับผิดชอบงานการวิจัยเกี่ยวกับเรื่องใด
ก. บันทึกเกี่ยวกับผู้ขาย ข. วิเคราะห์ค่าพัสดุ (สินค้า)
ค. บันทึกราคา ง. บันทึกแฟ้มคุณลักษณะเฉพาะ
3. ฝ่ายจัดซื้อจะต้องรับผิดชอบงานการจัดซื้อเกี่ยวกับเรื่องใด
ก. แสวงหาใบเสนอราคา ข. บันทึกเกี่ยวกับผู้ขาย
ค. วิเคราก์ค่าพัสดุ (สินค้า) ง. บันทึกราคา
4. ฝ่ายจัดซื้อจะต้องรับผิดชอบงานบริหารพัสดุ เกี่ยวกับเรื่องใด
ก. ตรวจเงื่อนไขทางกฎหมายในสัญญา
ข. เลือกว่าจะเซ็นสัญญาหรือซื้อเงินสด
ค. ติดตามผลการส่งของ
ง. เก็บรักษาสต๊อกให้น้อยที่สุด
5. ระบบการจัดจ่ายแบบใดที่ใช้กับสินค้าราคาสูง มีภาระในการเก็บรักษา ผู้จัดจ่ายต้องพยายามกระจายสินค้าไปสู่ผู้ค้ารานย่อยให้มากที่สุด
ก. ระบบผลัก ข. ระบบดัน
ค. ระบบดึง ง. ระบบนำส่ง
6. ระบบจับจ่ายแบบใดที่มีกลไกการทำงานเริ่มจากผู้จ่ายดำเนินการผลิต จัดหา จัดส่งตามกำหนดการที่วางไว้ล่วงหน้า ระบบนี้จะใช้กับสินค้าอุปโภคบริโภค ราคาไม่สูง พยายามส่งถ่ายไปให้กับผู้บริโภคเร็วที่สุด
ก. ระบบผลัก ข. ระบบดัน
ค. ระบบดึง ง. ระบบนำส่ง
7. ข้อพิจารณาในการปรับใช้ระบบการจัดจ่าย คือข้อใด
ก. ต้องทราบว่าสินค้าที่ผลิตและต้องจัดจ่ายเป็นสินค้าประเภทใด
ข. การติดต่อสื่อสารที่มีประสิทธิภาพ
ค. มีการประสานงานกับขนส่งเพื่อใช้ในการจัดจ่าย
ง. ถูกทุกข้อ
8. การกระตุ้นให้เกิดการจัดจ่ายเป็นกิจกรรมด้านใด
ก. การขนส่ง ข. การรับคำสั่งซื้อ
ค. การเก็บรักษา ง. การบรรจุภัณฑ์
9. การรวบรวมและจัดสินค้าให้อยู่ในหีบห่อเป็นกิจกรรมด้านใด
ก. การขนส่ง ข. การรับคำสั่งซื้อ
ค. การเก็บรักษา ง. การบรรจุภัณฑ์
10. โครงการเปลี่ยนนะบบการบริหารงานการเงินการคลังภาครัฐสู่ระบบอิเล็กทรอนิกส์ คือข้อใด
ก. GFMIS
ข. e – auction
ค. การจัดซื้อจัดจ้างระบบอิเล็กทรอนิกส์
ง. Online Real -Time

17 comments:

  1. ขอคำตอบด้วยครับ

    ReplyDelete
  2. ขอคำตอบด้วยครับ

    ReplyDelete
  3. phothirak@gmail.com

    ReplyDelete
  4. This comment has been removed by the author.

    ReplyDelete
    Replies
    1. This comment has been removed by the author.

      Delete
  5. ขอคำตอบหน่อยค่ะ

    ReplyDelete
  6. ขอคำตอบหน่อยค่ะ

    ReplyDelete
  7. สุนิษา วิลัยลา

    ReplyDelete
  8. ขอคำตอบหน่อยค่ะ

    ReplyDelete
  9. ขอคำตอบ

    ReplyDelete